หน้าแรก บทความน่ารู้
ทำความรู้จัก Lasik

ทำความรู้จัก Lasik

"เลสิค" เป็นคำเรียกโดยรวมของการผ่าตัดแก้ไขสายตา โดยการยิงเลเซอร์ที่กระจกตา คำว่า LASIK ย่อมาจาก Laser In Situ Keratomileusis สามารถแก้ไขสายตาผิดปกติ ได้แก่ สายตาสั้น สายตายาว สายตาเอียงโดยกำเนิด โดยมุ่งเน้นการแก้ไขที่กระจกตาเป็นหลัก

ทำความรู้จักโรคริดสีดวงทวาร

ทำความรู้จักโรคริดสีดวงทวาร

ริดสีดวงทวาร ภาวะที่หลอดเลือดดำบริเวณทวารหนักเกิดการปูด บวมหรืออักเสบ จนเกิดเป็นก้อนนูนออกมาจากผนังของช่องทวารหนัก และเป็นอุปสรรคในการขับถ่าย สาเหตุที่ทำให้เกิดริดสีดวงทวาร เช่น ภาวะท้องผูก การเบ่งอุจจาระนาน ๆ การรับประทานอาหารที่มีกากใยน้อย ดื่มน้ำน้อย อาหารรสจัด หรือการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ STD

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ STD

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สามารถติดต่อได้ระหว่างผู้มีเชื้อกับผู้รับเชื้อผ่านการมีเพศสัมพันธ์ รวมถึงการสัมผัสสารคัดหลั่งของผู้ที่มีเชื้อ เช่น อสุจิ เลือด น้ำในช่องคลอด รวมทั้งยังสามารถติดต่อจากแม่สู่ทารกในครรภ์ หรือการใช้เข็มฉีดยาร่วมกันในผู้ติดสารเสพติด

เตรียมความพร้อม...ก้าวเข้าสู่วัยทอง

เตรียมความพร้อม...ก้าวเข้าสู่วัยทอง

ถ้าพูดถึงวัยทอง แต่ละคนนั้นอาจเกิดขึ้นไม่พร้อมกัน โดยสามารถเริ่มต้นที่อายุประมาณ 40 ปีขึ้นไป  แต่ความเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนจะเกิดขึ้นแบบค่อยเป็นค่อยไป ตั้งแต่ช่วงกลางอายุ 30 ปี และจะแปรปรวนแบบสังเกตได้ชัดเจน เมื่อคุณอายุประมาณ 40 ปี

ต่อมทอนซิลอักเสบ หากมีอาการอย่าปล่อยไว้

ต่อมทอนซิลอักเสบ หากมีอาการอย่าปล่อยไว้

ต่อมทอนซิลอักเสบเป็นอาการที่พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ โดยพบบ่อยในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 10 ปี ซึ่งหากมีอาการอักเสบบ่อยๆ เป็นเรื้อรังจนถึงขั้นรุนแรงได้ ดังนั้น จึงไม่ควรมองข้ามหากคุณมีอาการเจ็บคอ บ่อยๆ นั่นอาจเป็นสัญญาณเตือนของโรคต่อมทอนซิลอักเสบ

"มะเร็งปอด ภัยเงียบคร่าชีวิต" สาเหตุอาการ และการตรวจวินิจฉัยมะเร็ง

"มะเร็งปอด ภัยเงียบคร่าชีวิต" สาเหตุอาการ และการตรวจวินิจฉัยมะเร็ง

มะเร็งปอด คือ โรคมะเร็งที่เกิดขึ้นในปอด ซึ่งเป็นอวัยวะสำคัญในระบบทางเดินหายใจ โดยมีลักษณะเป็นการเจริญเติบโตของเซลล์ผิดปกติที่ไม่สามารถควบคุมได้ เซลล์เหล่านี้สามารถแพร่กระจายไปยัง

ไซนัสอักเสบ

ไซนัสอักเสบ

ไซนัสอักเสบมีสาเหตุหลายประการ แต่ส่วนใหญ่มักเกิดจากการติดเชื้อและการอักเสบของหลอดลมในช่องจมูกและใบหน้า สาเหตุที่ทำให้เกิดการติดเชื้อและอักเสบเหล่านี้อาจมาจากสาเหตุต่างๆ

ปวดหูบ่อย ปล่อยไว้อันตรายแน่

ปวดหูบ่อย ปล่อยไว้อันตรายแน่

ปวดหู เป็นอาการปวดบริเวณหูข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้ง 2 ข้างพร้อมกัน อาจปวดในลักษณะตื้อ ๆ เจ็บแปลบ หรือรู้สึกแสบร้อน ซึ่งอาการปวดส่วนใหญ่จะอยู่ไม่นานแล้วค่อย ๆ ดีขึ้นจนหายไป มักพบได้บ่อยในเด็กมากกว่าผู้ใหญ่ และปวดหูเกิดจากอะไรได้บ้าง เรามีคำตอบ

เลือดกำเดาไหล เกิดจากอะไร แบบไหนต้องพบแพทย์

เลือดกำเดาไหล เกิดจากอะไร แบบไหนต้องพบแพทย์

หลายคนอาจมองว่าเลือดกำเดาไหลนั้นเป็นเพียงแค่อาการผิดปกติธรรมดา ที่เกิดจากเส้นเลือดฝอยในจมูกแตก จากการแคะจมูก หรืออุณหภูมิในร่างกายที่สูงขึ้น แต่ความจริงที่ทุกคนอาจไม่เคยรู้มาก่อน เลือดกำเดาไหล ถือเป็นหนึ่งในสัญญาณเตือนภัยที่บอกเราได้ว่า เราอาจกำลังจะป่วยเป็นโรคร้ายแรงอยู่ก็ได้

หูอื้อ หูดับเฉียบพลัน

หูอื้อ หูดับเฉียบพลัน

วันนี้เราจะไปทำความรู้จักกับอีกหนึ่งโรคอันตรายที่ถือว่าเป็น… หนึ่งใน “ภัยเงียบ” ที่ทำร้ายการได้ยินของเราจนถึงขั้นอาจทำให้หูหนวกไป คือ “โรคเส้นประสาทหูชั้นในดับเฉียบพลัน” ซึ่งโรคนี้จะเกิดจากสาเหตุใดและต้องรักษาอย่างไร?

โรค “ข้อเข่าเสื่อม”

โรค “ข้อเข่าเสื่อม”

โรค “ข้อเข่าเสื่อม” ที่มาจากพฤติกรรมการการใช้ข้อเข่าที่ไม่เหมาะสม ทั้การนั่งในท่าเดิมๆ ติดต่อกันเป็นเวลานาน การมีน้ำหนักตัวเกินเกณฑ์มากๆ เป็นโรคอ้วน หรือเคยได้รับบาดเจ็บที่ข้อเข่าแต่ไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี สิ่งเหล่านี้ล้วนเพิ่มโอกาสเสี่ยงเป็นข้อเข่าเสื่อมก่อนวัยอันควรได้ทั้งนั้น

การอัลตร้าซาวด์ (Ultrasound) 

การอัลตร้าซาวด์ (Ultrasound) 

การตรวจวินิจฉัยโรคโดยการใช้คลื่นเสียงกำลังสูงสะท้อนให้เกิดภาพ ซึ่งสามารถตรวจดูอวัยวะต่าง ๆ ทำให้เห็นได้ถึงความผิดปกติบางชนิด 

การตรวจวัดความหนาแน่นมวลกระดูก (Bone Mineral Density, BMD)

การตรวจวัดความหนาแน่นมวลกระดูก (Bone Mineral Density, BMD)

การตรวจเพื่อหาค่าความหนาแน่นของกระดูกตามส่วนต่างๆ เพื่อประเมินความเสี่ยงในการเกิดโรคกระดูกพรุน โดยตำแหน่งที่ตรวจมักจะเป็นบริเวณกระดูกสันหลัง กระดูกสะโพก กระดูกข้อมือ

ความแตกต่างสำคัญระหว่าง MRI กับ CT Scan

ความแตกต่างสำคัญระหว่าง MRI กับ CT Scan

การตรวจ CT (Computerized Tomography) และ MRI (Magnetic Resonance Imaging) ที่ถือว่าเป็นเครื่องมือช่วยในการตรวจวินิจฉัยที่สำคัญมาก การตรวจหาความผิดปกติอวัยวะต่างๆ มีความแตกต่างที่สำคัญหลายอย่าง ดังนี้

CT scan คืออะไร

CT scan คืออะไร

CT scan เป็นเทคโนโลยีที่ใช้ตรวจหาความผิดปกติ ประมวลผลสร้างภาพในระบบ 3 มิติ จะให้รายละเอียดของภาพมากกว่าการตรวจเอกซเรย์แบบธรรมดาทั่วไป

การตรวจคัดกรองโครโมโซมทารกในครรภ์

การตรวจคัดกรองโครโมโซมทารกในครรภ์

การตรวจคัดกรองโครโมโซมทารกในครรภ์ เป็นการตรวจความผิดปกติทางโครโมโซม ซึ่งเป็นสาเหตุของกลุ่มอาการทางพันธุกรรมต่าง ๆ เช่น กลุ่มอาการดาวน์ กลุ่มอาการเอ็ดเวิร์ดส์ กลุ่มอาการพาทัวร์ และกลุ่มอาการโรค...

หลังคลอด คุณแม่ควรตรวจอะไรบ้าง

หลังคลอด คุณแม่ควรตรวจอะไรบ้าง

การตรวจร่างกายหลังคลอดเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งสำหรับคุณแม่ เพราะมีผลต่อสุขภาพของคุณแม่และลูกน้อยด้วย จึงจำเป็นที่จะต้องทำตามคำแนะนำจากแพทย์อย่างเคร่งครัด

สัญญาณที่บ่งบอกว่าคุณ เสี่ยงคลอดก่อนกำหนด

สัญญาณที่บ่งบอกว่าคุณ เสี่ยงคลอดก่อนกำหนด

ภาวะคลอดก่อนกำหนด มีสัญญาณเตือนหลายอย่างที่คุณแม่สังเกตได้ วิธีสังเกตดังนี้...

การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม

การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม

ผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม เป็นการผ่าตัดที่ใช้ในภาวะของข้อสะโพกที่เสื่อมสภาพหรือเสียหายโดยการแทนที่ส่วนที่เสื่อมและเสียหายนั้นๆด้วยข้อสะโพกเทียม

หมอนรองกระดูกสันหลังเสื่อม รักษาได้

หมอนรองกระดูกสันหลังเสื่อม รักษาได้

อาการของโรคหมอนรองกระดูกสันหลังเสื่อมในผู้ที่อาการไม่รุนแรง คือ อาการปวดตื้อๆ บริเวณเอว อาจมีอาการปวดร้าวลงกล้ามเนื้อด้านข้างของหลังและสะโพก

ผ่าตัดกระดูกสันหลัง

ผ่าตัดกระดูกสันหลัง

การผ่าตัดกระดูกสันหลัง มักเกิดขึ้นเมื่อมีภาวะที่ต้องการแก้ไขที่สันหลัง เช่น การได้รับบาดเจ็บจากการบาดเจ็บของกระดูกหรือเนื้อเยื่อรอบๆ สันหลัง

โรคหมอนรองกระดูกสันหลังเสื่อม

โรคหมอนรองกระดูกสันหลังเสื่อม

เป็นภาวะที่สามารถพบได้ในผู้สูงอายุ ที่มีความเสื่อมเกิดขึ้นในร่างกายตามวัยที่สูงขึ้น แต่เชื่อหรือไม่ว่าอาการปวดหลังเรื้อรังนั้นพบมากขึ้นในทุกช่วงอายุ ตั้งแต่ 25 – 50 ปี

โรคข้อและกระดูกสันหลังอักเสบคืออะไร

โรคข้อและกระดูกสันหลังอักเสบคืออะไร

หมายถึง กลุ่มโรคที่มีการอักเสบของข้อกระดูกสันหลังและข้อระยางค์ (แขนและขา) ร่วมกับการอักเสบของปลายเอ็นส่วนที่ยึดติดกับกระดูก ซึ่งก่อให้เกิดอาการปวดตึงหลัง ปวดข้อแขนหรือขา

โรครูมาตอยด์ (Rheumatoid Arthritis)

โรครูมาตอยด์ (Rheumatoid Arthritis)

โรครูมาตอยด์เป็นโรคข้ออักเสบประเภทหนึ่ง เกิดจากการอักเสบเรื้อรังของข้อต่อ สามารถเกิดขึ้นได้ในส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และมีอาการ ความรุนแรง และภาวะแทรกซ้อนที่ต่างกัน

การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม

การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม

เป็นการผ่าตัดทางการแพทย์ที่ใช้เพื่อแก้ไขปัญหาของข้อเข่าที่เสื่อมสภาพหรือเจ็บปวดอย่างรุนแรง แล้วใช้ผิวข้อเข่าเทียมที่ทำด้วยโลหะมาติดตั้งแทนที่ข้อเข่าที่เสื่อมหรือเสียหาย

อาการตกขาวเกิดจากอะไร

อาการตกขาวเกิดจากอะไร

ตกขาวที่ปกติสามารถสังเกตได้โดย ตกขาวจะไม่มีกลิ่น และไม่คัน แต่ในบางครั้งตกขาวอาจบ่งบอกถึงความผิดปกติได้เช่นกัน ซึ่งอาจเป็นสัญญาณเตือนของโรคร้าย ซึ่งคุณผู้หญิงไม่ควรมองข้าม

สัญญาณเตือนช่องคลอดอักเสบ

สัญญาณเตือนช่องคลอดอักเสบ

ช่องคลอดอักเสบ อาการผิดปกติที่เกิดขึ้น มักจะมีหลายสัญญาณที่บ่งบอกได้ว่าคุณกำลังเสี่ยงกับภาวะนี้ ซึ่งอาการที่สามารถสังเกตได้ในเบื้องต้นมี ดังนี้

โรคมดลูกโตจากเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที

โรคมดลูกโตจากเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที

คุณรู้หรือไม่ว่า หากอาการปวดประจำเดือนที่เคยเป็น ค่อยๆ ทวีความรุนแรงขึ้น นั่นอาจเป็นสัญญาณเตือนของ “โรคเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่”

ประจำเดือนมาไม่ปกติ

ประจำเดือนมาไม่ปกติ

ประจำเดือนถือเป็นสิ่งหนึ่ง ที่บ่งบอกถึงสุขภาพในการเจริญพันธุ์ของผู้หญิงทุกคน หากประจำเดือนมาไม่ปกติ จะสังเกตได้จากประจำเดือนไม่มา มามากหรือน้อยเกินไป หรือประจำเดือนห่าง เป็นต้น

การผ่าตัดเนื้องอกมดลูก (Myomectomy)

การผ่าตัดเนื้องอกมดลูก (Myomectomy)

การผ่าตัดเนื้องอกมดลูก เป็นทางเลือกหนึ่งสำหรับผู้หญิงที่มีปัญหาจากเนื้องอกมดลูก เช่น มีเลือดออกมากผิดปกติ ปวดท้องมาก

วัคซีนเสริมของเด็ก มีอะไรบ้างและจำเป็นหรือไม่

วัคซีนเสริมของเด็ก มีอะไรบ้างและจำเป็นหรือไม่

เป็นวัคซีนที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันโรค แต่เป็นวัคซีนที่ไม่ได้อยู่ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของกระทรวงสาธารณสุข

พัฒนาการที่สมวัยของเด็ก ช่วงอายุแรกเกิด - 3 ปี

พัฒนาการที่สมวัยของเด็ก ช่วงอายุแรกเกิด - 3 ปี

พัฒนาการที่สมวัยของเด็ก ช่วงอายุแรกเกิด - 3 ปีนั้น จะมีการเติบโตทางด้านร่างกาย และพัฒนาการทุกด้านอย่างรวดเร็ว

คุณกำลังเป็น..โรคอ้วนหรือเปล่า

คุณกำลังเป็น..โรคอ้วนหรือเปล่า

โรคอ้วน (Obesity) เป็นภาวะที่เกิดจากการสะสมของไขมันในร่างกายมากเกินไปจนมีผลกระทบต่อสุขภาพ ซึ่งสามารถนำไปสู่โรคและภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ มากมาย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด, เบาหวานประเภท 2, โรคข้อเข่าเสื่อมและมะเร็งบางชนิด

โรคนอนไม่หลับ จากภาวะความเครียด

โรคนอนไม่หลับ จากภาวะความเครียด

โรคนอนไม่หลับ (Insomnia) โรคนอนไม่หลับเป็นปัญหาที่พบได้ทุกวัย ทุกอายุ เกิดขึ้นได้บ่อย จากภาวะความเครียดเป็นปัญหาสุขภาพที่พบได้บ่อย

ไซนัสอักเสบ

ไซนัสอักเสบ

ไซนัสอักเสบมีสาเหตุหลายประการ แต่ส่วนใหญ่มักเกิดจากการติดเชื้อและการอักเสบของหลอดลมในช่องจมูกและใบหน้า

หูอื้อ หูดับเฉียบพลัน

หูอื้อ หูดับเฉียบพลัน

ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าความสุขและการดำเนินชีวิตของเราทุกคนนั้น จำเป็นต้องอาศัย “การได้ยินเสียง”

ต่อมทอนซิลอักเสบ หากมีอาการอย่าปล่อยไว้

ต่อมทอนซิลอักเสบ หากมีอาการอย่าปล่อยไว้

ต่อมทอนซิลอักเสบเป็นอาการที่พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ โดยพบบ่อยในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 10 ปี ซึ่งหากมีอาการอักเสบบ่อยๆ เป็นเรื้อรังจนถึงขั้นรุนแรงได

ปวดหูบ่อย ปล่อยไว้อันตรายแน่!!

ปวดหูบ่อย ปล่อยไว้อันตรายแน่!!

ปวดหู (Earache/Ear Pain) เป็นอาการปวดบริเวณหูข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้ง 2 ข้างพร้อมกัน อาจปวดในลักษณะตื้อ ๆ เจ็บแปลบ หรือรู้สึกแสบร้อน ซึ่งอาการปวดส่วนใหญ่จะอยู่ไม่นานแล้วค่อย ๆ ดีขึ้นจนหายไป มักพบได้บ่อยในเด็กมากกว่าผู้ใหญ่ และปวดหูเกิดจากอะไรได้บ้าง เรามีคำตอบ

 เลือดกำเดาไหล เกิดจากอะไร แบบไหนต้องพบแพทย์

เลือดกำเดาไหล เกิดจากอะไร แบบไหนต้องพบแพทย์

หลายคนอาจมองว่าเลือดกำเดาไหลนั้นเป็นเพียงแค่อาการผิดปกติธรรมดา ที่เกิดจากเส้นเลือดฝอยในจมูกแตก จากการแคะจมูก หรืออุณหภูมิในร่างกายที่สูงขึ้น แต่ความจริงที่ทุกคนอาจไม่เคยรู้มาก่อน เลือดกำเดาไหล

การสวนหลอดเลือดหัวใจ (CAG ) และการขยายหลอดเลือดหัวใจ (PCI)

การสวนหลอดเลือดหัวใจ (CAG ) และการขยายหลอดเลือดหัวใจ (PCI)

วิธีสวนหลอดเลือดหัวใจทางหลอดเลือดแดงคือผู้ป่วยที่สงสัยภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ เช่น ผู้ที่มีอาการเหนื่อย

การฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ

การฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ

การสวนหลอดเลือดหัวใจทางหลอดเลือดแดง (Coronary Artery Angiography - CAG) คือการใส่สายสวนเข้าไปทางหลอดเลือดแดง โดยสามารถทำได้ที่เส้นเลือดแดงที่แขนและขาหนีบ และฉีดสารทึบรังสี

หมอนรองกระดูกสันหลังทับเส้นประสาท

หมอนรองกระดูกสันหลังทับเส้นประสาท

หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทเป็นโรคที่เกิดจากการเคลื่อนของหมอนรองกระดูกสันหลังหรือส่วนประกอบของหมอนรองกระดูกสันหลังออกจากตำแหน่งปกติไปกดทับเส้นประสาทที่อยู่ข้างเคียง

โรคเกาต์ (Gout)

โรคเกาต์ (Gout)

เป็นโรคข้ออักเสบที่เกิดจากภาวะกรดยูริกในเลือดสูง เมื่อระดับกรดยูริกในเลือดสูง กรดยูริกจะตกตะกอนในรูปของผลึกเกลือยูเรตในข้อต่อต่างๆ

“โรคกระดูกพรุน” ไม่ใช่ผู้สูงอายุเท่านั้นที่ต้องระวัง สาเหตุ การป้องกัน และการรักษา

“โรคกระดูกพรุน” ไม่ใช่ผู้สูงอายุเท่านั้นที่ต้องระวัง สาเหตุ การป้องกัน และการรักษา

โรคกระดูกพรุน สำหรับหลายท่าน อาจคิดว่าเป็นโรคที่เกิดกับผู้สูงอายุเท่านั้น แต่ที่จริงแล้ว โรคกระดูกพรุนเกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศทุกวัย ซึ่งขึ้นกับสาเหตุต่างๆที่ทำให้เกิดการสูญเสียมวลกระดูก ทำให้กระดูกเสียคุณสมบัติในการรับน้ำหนักและความแข็งแรง ทำให้กระดูกเปราะและแตกหักง่าย

สัญญาณเตือน ข้อสะโพกเสื่อม อันตรายอย่าปล่อยไว้

สัญญาณเตือน ข้อสะโพกเสื่อม อันตรายอย่าปล่อยไว้

เป็นรูปแบบของโรคข้อที่เกิดจากกระดูกอ่อนที่คลุมพื้นผิวของข้อเสื่อมไป จนบางลงหรือแตก เป็นหลุมขรุขระ จนทำให้เกิดการปวดและข้อติดขัด

โรคข้อเข่าเสื่อม

โรคข้อเข่าเสื่อม

เป็นภาวะเสื่อมสภาพของกระดูกอ่อนที่ข้อเข่า มักพบในวัยกลางคนหรือผู้สูงอายุ แต่ในปัจจุบันสามารถพบในคนอายุน้อยมากขึ้นได้

ภัยร้าย การตั้งครรภ์นอกมดลูก

ภัยร้าย การตั้งครรภ์นอกมดลูก

สาเหตุของการตั้งครรภ์นอกมดลูกอาจมีหลายปัจจัย แต่สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด

หาความผิดปกติของทารกในครรภ์ด้วย  “อัลตร้าซาวด์”

หาความผิดปกติของทารกในครรภ์ด้วย “อัลตร้าซาวด์”

อัลตราซาวนด์ (ultrasound) เป็นเทคโนโลยีการแสดงภาพแบบการส่งคลื่นเสียงในระดับความถี่ที่สูงกว่าคลื่นเสียงที่มนุษย์สามารถได้ยินได้ (ซึ่งเรียกว่า ultrasound frequency) เพื่อสร้างภาพของโครงสร้างภายในร่างกาย เช่น อวัยวะภายในท้องได้

การนับลูกดิ้นในครรภ์ มีความสำคัญหรือไม่

การนับลูกดิ้นในครรภ์ มีความสำคัญหรือไม่

เมื่อทารกดิ้นมากหรือมีลักษณะการดิ้นเปลี่ยนแปลงอาจเป็นสัญญาณบอกว่าทารกมีสุขภาพดีอยู่. ในทางกลับกัน การลดจำนวนการดิ้นหรือการรู้สึกลดลงอาจเป็นสัญญาณของปัญหาในการตั้งครรภ์หรือปัญหาสุขภาพของทารก

เตรียมตัวพร้อมก่อนตั้งครรภ์  (วิธีการดูแลสุขภาพก่อนตั้งครรภ์)

เตรียมตัวพร้อมก่อนตั้งครรภ์ (วิธีการดูแลสุขภาพก่อนตั้งครรภ์)

การเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์เป็นขั้นตอนสำคัญที่ช่วยให้ร่างกาย พร้อมที่จะตั้งครรภ์และทำหน้าที่ของการเลี้ยงลูกในอนาคตได้อย่างดีที่สุด

โรคหัวใจ (Heart disease)

โรคหัวใจ (Heart disease)

หากคุณมีความเสี่ยงต่ออาการของโรคหัวใจ เช่น มีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคหัวใจหรือเบาหวาน ควรตรวจสุขภาพเป็นประจำเพื่อตรวจสอบความเสี่ยง และดูแลสุขภาพในระยะยาว เเละหากมีอาการควรพบแพทย์ทันที

Holter monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 24 ชั่วโมง

Holter monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 24 ชั่วโมง

อุปกรณ์ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพาและสวมใส่ได้เพื่อบันทึกการเต้นของหัวใจและตรวจหาจังหวะการเต้นของหัวใจที่ผิดปกติ

การตรวจหาหินปูนในเส้นเลือดหัวใจ Calcium Score

การตรวจหาหินปูนในเส้นเลือดหัวใจ Calcium Score

Calcium Score หรือในชื่อเต็ม CT Coronary Calcium Score คือการตรวจหาหินปูนในเส้นเลือดหัวใจ

การตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย (EST)

การตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย (EST)

การตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย EST (Exercise Stress Test) คือการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจขณะทำงานหนัก

เช็คสถานะคลื่นไฟฟ้าหัวใจด้วย  (Electrocardiography)

เช็คสถานะคลื่นไฟฟ้าหัวใจด้วย (Electrocardiography)

การตรวจคัดกรองโรคหัวใจ ด้วยการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ เป็นการตรวจเบื้องต้น เพื่อตรวจหาความผิดปกติที่อาจจะเกิดขึ้น หรือได้เกิดขึ้นไป

การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Echo)

การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Echo)

การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง ที่เรียกว่า Echocardiogram,Echocardiography หรือ Echo นั้นเป็นการตรวจเพื่อประเมินประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจ

ปวดข้อเรื้อรัง ทางเลือกใหม่ในการรักษา เลือกรักษาด้วย PRP

ปวดข้อเรื้อรัง ทางเลือกใหม่ในการรักษา เลือกรักษาด้วย PRP

ข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคในผู้สูงอายุที่พบได้บ่อย สถิติในประเทศไทยพบว่าในผู้สูงอายุที่มีอายุเกิน 65 ปี

Morpheus8

Morpheus8

Morpheus8 เป็นเทคโนโลยีการยกกระชับโดยไม่ต้องผ่าตัด (Non - Surgical Lifting ) ไม่ต้องพักฟื้น ไม่ทิ้งรอยแผล ปลอดภัยต่อคนผิวคล้ำต่อการเกิดรอยดำ

CO2 Laser

CO2 Laser

เลเซอร์ชนิดคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 Laser) เป็นการนำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มาเป็นตัวกลางในการทำให้เกิดแสงเลเซอร์ที่มีความยาวคลื่นที่ 10,600 nm

Treatment Phono

Treatment Phono

โฟโนทรีทเม้นต์ คือ การใช้เครื่องมือที่ให้กำเนิดคลื่นเสียงในการเพิ่มการซึมผ่านโมเลกุลของครีมหรือตัวยาลงไปในชั้นผิวหนัง เช่น ยา ครีม เจล เซรั่ม วิตามินบำรุงผิวต่างๆ

Botulinum toxin

Botulinum toxin

Botulinum toxin คือ สารที่สร้างจากแบคทีเรียชื่อ Clostridium botulinum ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทด้วยการยับยั้งการหลั่งของสารสื่อประสาททำให้กล้ามเนื้อไม่สามารถทำงานได้

Filler

Filler

ฟิลเลอร์ (Filler) หรือสารเติมเต็ม เป็นสารที่ใช้ในการเติมชั้นใต้ผิวเพื่อให้ร่องหรือริ้วรอยลึกดูตื้นขึ้น ทำให้แลดูอ่อนเยาว์ รวมทั้งนำมาใช้ในการปรับรูปหน้าให้สมส่วนมากยิ่งขึ้น

สัญญาณเตือนอาการของโรคไข้เลือดออก

สัญญาณเตือนอาการของโรคไข้เลือดออก

อาการของโรคไข้เลือดออกนั้นมีตั้งแต่อาการเป็นไข้สูงลอย อย่างเดียว ไปจนถึง เกิดภาวะช็อกในคนที่ได้สายพันธ์ุรุนแรงมา Dengue Shock Syndrome

รู้ไว้ไม่ผิด โรคร้ายที่ผู้หญิงต้องรู้

รู้ไว้ไม่ผิด โรคร้ายที่ผู้หญิงต้องรู้

การตรวจเพื่อหาระยะก่อนเป็นมะเร็งปากมดลูกซึ่งสามารถรักษาให้หายขาดได้ 100 %

กระดูกพรุนระยะแรกไม่มีอาการ..!!

กระดูกพรุนระยะแรกไม่มีอาการ..!!

ตรวจมวลกระดูก...เพื่อค้นหาความเสี่ยงของภาวะกระดูกพรุน

ปล่อยลูกติดจอเสี่ยงสมาธิสั้น พัฒนาการช้า

ปล่อยลูกติดจอเสี่ยงสมาธิสั้น พัฒนาการช้า

ปฏิเสธได้เลยว่าการเลี้ยงลูกมีสิ่งที่คอยดึงดูดความสนใจลูกอย่างมากมาย โดยสิ่งที่ผู้ปกครองมักใช้ในกรณีที่ต้องการเบี่ยงเบนหรือดึงความสนใจลูก

วิ่งมากไป เสี่ยงไตวายเฉียบพลัน

วิ่งมากไป เสี่ยงไตวายเฉียบพลัน

ปัญหาคาไตวันนี้..ว่ากันด้วยในเรื่องปัญหาสุขภาพทั้งหลาย สานวิ่งทั้งหลาย พลาดไม่ได้นะคะ

MIS-C ภาวะอักเสบทั่วร่างกายในเด็ก..อันตรายที่ต้องเฝ้าระวัง

MIS-C ภาวะอักเสบทั่วร่างกายในเด็ก..อันตรายที่ต้องเฝ้าระวัง

ผู้ป่วยอาจไม่มีอาการของโรคโควิด-19 หรือมีอาการเพียงเล็กน้อย อายุเฉลี่ยของเด็กที่พบอาการของโรคโควิด-19 หรือมีอาการเพียงเล็กน้อย

เหตุผลที่ควรพาเด็กมารับวัคซีนป้องกันโรค COVID-19

เหตุผลที่ควรพาเด็กมารับวัคซีนป้องกันโรค COVID-19

วัคซีนเน้นช่วยป้องกันไม่ให้อาการรุนแรง เช่น ปอดบวม สมองอักเสบ

ไส้เลื่อนขาหนีบ

ไส้เลื่อนขาหนีบ

โรคไส้เลื่อนขาหนีบ เป็นโรคที่พบบ่อยในผู้ชายมากกว่าผู้หญิงอาจจะเป็นข้างเดียวหรือสองข้างก็ได้ ซึ่งเกิดจากผนังหน้าท้องบริเวณขาหนีบมีความแข็งแรงลดลง

นิ่วถุงน้ำดี ใครบ้างที่เสี่ยง!!

นิ่วถุงน้ำดี ใครบ้างที่เสี่ยง!!

นิ่วคือหินปูนขนาดเล็ก ลักษณะเหมือนก้อนกรวดเกิดจากการตกตะกอนของสารเคมีในน้ำดีที่ผิดปกติ สามารถเกิดขึ้นได้เป็นก้อนเดียว

RSV ไวรัสร้ายที่คุณพ่อ คุณแม่ ต้องรู้จัก

RSV ไวรัสร้ายที่คุณพ่อ คุณแม่ ต้องรู้จัก

ในช่วงปลายฝนต้นหนาว โรคที่เป็นปัญหาสำคัญสำหรับลูกน้อยก็คือ “โรคติดเชื้อทางเดินหายใจจากเชื้อไวรัส RSV”

มะเร็งเต้านม ภัยร้ายสำหรับผู้หญิง

มะเร็งเต้านม ภัยร้ายสำหรับผู้หญิง

มะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่พบได้บ่อยที่สุดในเพศหญิงทั่วโลก เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับต้นๆ

ปัญหาคา "ไต" หมอไตมีคำตอบ

ปัญหาคา "ไต" หมอไตมีคำตอบ

ไตเป็นอวัยวะที่มีรูปร่างคล้ายเมล็ดถั่ว วางอยู่ทางด้านหลังของช่องท้องขนาบกับกระดูกสันหลังบริเวณบั้นเอวทั้ง 2 ข้าง

โรคหัวใจมักไม่แสดงอาการ ไม่มีอาการไม่ได้หมายความว่าไม่เป็นโรค !!

โรคหัวใจมักไม่แสดงอาการ ไม่มีอาการไม่ได้หมายความว่าไม่เป็นโรค !!

การจะเลือกวิธีตรวจสุขภาพ “หัวใจ” ส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับดุลพินิจของแพทย์

ลดความเสี่ยงเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด

ลดความเสี่ยงเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด

สำหรับลดความเสี่ยงเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดที่ไม่มีโรคเบาหวานเป็นโรคร่วม

มะเร็งลำไส้ใหญ่ เรื่องที่คุณควรรู้ !!!

มะเร็งลำไส้ใหญ่ เรื่องที่คุณควรรู้ !!!

โรคที่พบได้บ่อยมากขึ้นทุกปี โดยจากสถิติของประเทศไทยล่าสุดพบว่าเป็นสาเหตุที่ทำให้เสียชีวิตเป็นอันดับที่สามของผู้ป่วยที่เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง รองจากมะเร็งปอด